ประกาศการเปลี่ยนแปลงนโยบายพื้นที่การเก็บข้อมูลของ Google Workspace เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม 2022
Q : นโยบายการคิดพื้นที่เป็นยังไง
ตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม 2022 ไฟล์ Google Docs, Sheets, Slides, Drawings, Forms และ Jamboard ที่สร้างขึ้นใหม่ จะเริ่มมีการคิดพื้นที่ใน Domain ของคุณ และสำหรับไฟล์เดิมที่คุณเคยสร้างไว้จะไม่มีการนับรวมในพื้นที่ จนกว่าจะมีการเปิดเอกสารเพื่อทำการแก้ไข ภายในหรือหลัง วันที่ 2 พฤษภาคม 2022 เป็นต้นไป นโยบายการคิดพื้นที่จะใช้พื้นที่ของผู้สร้างไฟล์เท่านั้น
Q : ใครบ้างที่ได้รับผลกระทบในครั้งนี้
- Admins และ Users จะได้รับผลกระทบ ซึ่งพื้นที่ในการเก็บข้อมูลจะแตกต่างกันไปตามรุ่นของ Google Workspace ดังนี้
Google Workspace
Business
Starter
Business
Standard
Business
Plus
Enterprise
Standard
Enterprise
Plus
พื้นที่เก็บข้อมูลสำหรับผู้ใช้แต่ละคน
30 GB
2 TB
( Pooled )
5 TB
( Pooled )
5 TB
( Pooled )
As much as you need*
5 TB
( Pooled )
As much as you need*
สำหรับลูกค้าที่ใช้ G Suite Packages
นโยบายการคิดพื้นที่จะยังใช้นโยบายเดิม จนกว่าจะมีการเปลี่ยนจากแพคเกจ G Suite มาเป็นแพคเกจ Google Workspace
G Suite
Basic
Business
พื้นที่เก็บข้อมูลสำหรับผู้ใช้แต่ละคน
30 GB
Unlimited
- กรณีที่มีการ Mix SKUs ภายใน Domain ผู้ใช้งานจะได้รับผลกระทบตาม SKU ที่ได้รับสิทธิ์จาก Admin
Q : Admin และ User ควรเตรียมตัวอย่างไร
Admins: ผู้ดูแลระบบหลักในโดเมนที่ได้รับผลกระทบ จะได้รับอีเมลแจ้งเตือน ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลง
ในระหว่างนี้โปรดดู รายงานการใช้งาน (ไปที่ General > Photos and Drive) เพื่อดูการใช้พื้นที่ขององค์กรของคุณ
หากต้องการรายละเอียดแพคเกจปัจจุบันสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
- เปรียบเทียบ Google Workspace รุ่นต่างๆ
- เปรียบเทียบ Google Workspace Enterprise รุ่นต่างๆ
- เปรียบเทียบรุ่น G Suite Basic และ Business
- หากคุณไม่แน่ใจว่าคุณใช้แพคเกจใดอยู่ให้ไปที่ Admin console เพื่อดูรายละเอียด
End users: สามารถเรียนรู้ วิธีจัดการไฟล์ในพื้นที่เก็บข้อมูลบัญชี Google ของคุณ ได้ที่นี่
หากท่านต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อมายังแทนเจอรีน
เพื่อรับคำปรึกษาในการใช้ Google Workspace รวมถึงสิทธิพิเศษต่างๆ ของแทนเจอรีน
ได้ที่อีเมล google.sales@tangerine.co.th หรือโทร 094-999-4263 ได้ทันที
Share on social media
Related Solution
All and More
- All
- Apigee
- Application Development
- Business Transformation
- Cisco
- Converged Infrastructure
- Data Analytics
- Dell EMC
- Dell Technologies
- Dialogflow (Chatbot)
- Event
- G Suite
- Google Cloud
- Google Cloud Platform
- Google Maps Platform
- Google Workspace
- Highlight
- Huawei
- Hybrid Cloud & Multi Cloud
- Knowledge
- Networking
- Productivity & Work Transformation
- Security
- Smart Business Analytics & AI
- Storage & Data Protection
- Success Story
- Tenable
- Thales
- VMware
- All
- Apigee
- Application Development
- Business Transformation
- Cisco
- Converged Infrastructure
- Data Analytics
- Dell EMC
- Dell Technologies
- Dialogflow (Chatbot)
- Event
- G Suite
- Google Cloud
- Google Cloud Platform
- Google Maps Platform
- Google Workspace
- Highlight
- Huawei
- Hybrid Cloud & Multi Cloud
- Knowledge
- Networking
- Productivity & Work Transformation
- Security
- Smart Business Analytics & AI
- Storage & Data Protection
- Success Story
- Tenable
- Thales
- VMware
การกำหนด Quota การใช้งาน API Service บน Google Maps Platform
สวัสดีผู้ใช้งาน Google Maps Platform ทุกท่าน บทความนี้ทางแทนเจอรีนจะมาแนะนำวิธีการกำหนด และตั้งค่าเกี่ยวกับ Quota การเรียกใช้งาน API Service ต่างๆ ของ Google Maps Platform
Data Engineer ถูกใจสิ่งนี้ Google Cloud Composer เครื่องมือคู่กายสาย Airflow
ปฎิเสธไม่ได้เลยว่าในปัจจุบันการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเป็นเรื่องพื้นฐานที่แต่ละองค์กรต้องรู้ เพื่อนำมาสร้างมูลค่าให้กับธุรกิจ แต่การจัดการข้อมูลเหล่านั้นยังเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและบริหารได้ลำบากเนื่องจากปริมาณข้อมูลนั้นเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมหาศาล อีกทั้งยังมีที่มาจากหลากหลายแหล่งที่เพิ่มขึ้นทุกวัน
เพิ่มประสิทธิภาพความเร็วให้ Modernize Application ด้วย CI/CD
ปัจจุบันนี้หลาย ๆ องค์กรได้ให้ความสนใจและมีการพัฒนา Application ที่เปลี่ยนรูปแบบไปจากเดิมคือ Waterfall Model มาเป็นแบบ Agile เพื่อทำให้สามารถ Release Application ไปถึงมือของ Users ได้รวดเร็วมากขึ้น รวมถึงการออกแบบ Architecture ของ Application ก็ได้มีการเปลี่ยนจากแบบ Monolith Application มาเป็นแบบ Microservice Application กันมากขึ้น
ความสามารถใหม่ Container Runtime Protection ช่วยปกป้ององค์กรจาก Cyber Attack ได้ดีกว่าเดิมอย่างไร?
ปี 2022 และต่อจากนี้ คาดการณ์กันว่าจะมีการโจมตีทาง Cyber หรือ Cyber Attack กันอย่างต่อเนื่องอีกมาก และซับซ้อนยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการโจมตีที่เราคุ้นเคยกันอย่าง DDoS, Ransomware และที่กำลังถูกโจมตีกันอย่างแพร่หลายอย่าง Cryptocurrency Mining ที่จะลักลอบเอา Resource การประมวลผลของผู้ถูกโจมตีไปใช้งานในการขุด Cryptocurrency หรือ สกุลเงินดิจิตอลเพื่อความมั่งคั่งของผู้โจมตีเอง
ปกป้องระบบ Cloud ขององค์กรง่ายๆ ด้วย 7 เครื่องมือสำคัญจาก Cisco Secure Portfolio
การรักษาความปลอดภัยของ Cloud อาจเป็นเรื่องยุ่งยาก สิ่งไหนกันแน่ที่เรากำลังต้องป้องกัน มีคำถามมากมายเกิดขึ้น เมื่อมีการใช้งาน Application บน Public Cloud ตัวอย่างเช่น