การสร้างแบบสอบถามด้วย Google Forms
ขั้นตอนการสร้าง และ การตั้งค่า Google Forms
ทุกวันนี้ feedback ในเรื่องต่างๆมีความสำคัญมาก ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจะเป็นสิ่งที่ทำให้งานของคุณมีการปรับและพัฒนาได้ดียิ่งขึ้น Google Forms สามารถสร้างแบบสอบถามหลากหลายรูปแบบ ตอบโจทย์การใช้งานที่ง่ายและประสิทธิภาพสูง
การเริ่มต้นสร้างแบบสอบถามใหม่
คุณสามารถสร้างไฟล์เอกสารใหม่ได้จาก Google Drive โดยการคลิก New แล้วเลือก
More > Google Forms
หรือจะเข้าไปที่ Google Apps
เริ่มต้นสร้างแบบสอบถาม
- ตั้งชื่อแบบสอบถาม
คลิกที่ “Untitled form” เพื่อเปลี่ยนชื่อ - การเพิ่มคำถาม
- ส่วนสำหรับใส่คำถาม
- สำหรับใส่ choice หรือตัวเลือก
- สำหรับรูปแบบ ประเภทของคำถาม
- ตั้งให้คำถามนี้เป็นแบบบังคับตอบ
สามารถเพิ่มคำถามด้วยการเลือก
แล้วใส่คำถามในช่อง Question เลือกประเภทคำถามที่ต้องการ หากประเภทใดมีตัวเลือกสามารถใส่ตัวเลือกที่ Option
การดูตัวอย่างแบบสอบถาม
Preview เพื่อดูแบบสอบถามตัวจริงก่อนจะส่งออก
เลือกรูปตาเพื่อดูตัวอย่างแบบสอบถามที่สำเร็จแล้ว
การกำหนดสิทธิ์ผู้ตอบแบบสอบถาม
หากต้องการให้ผู้ตอบแบบสอบถามต้องลงชื่อเข้าใช้ด้วยอีเมลขององค์กร สามารถเลือก Restrict to …. users เพื่อบังคับใช้เฉพาะภายในองค์กรเท่านั้น และถ้าต้องการให้ตอบได้แค่คนละ 1 คำตอบสามารถเลือกได้ที่ Limit to 1 response ได้
การดูผลรวมของแบบสอบถาม
สามารถเลือกที่ Responses เพื่อดูผลการตอบแบบสอบถาม โดยการดูผลลัพธ์สามารถดูได้ 3 ช่องทางได้แก่
- Summary เพื่อดูภาพรวมของการตอบแบบสอบถาม Google Forms จะสรุปผลการตอบนำเสนอเป็นรูปแบบกราฟให้
- Individual สามารถดูผลการตอบแบบสอบถามรายบุคคล
- การแสดงผลแบบ Google Sheets เพื่อแสดงเป็นข้อมูลแบบ Spreadsheet โดยการคลิกที่
- การประยุกต์ใช้ Google Forms ทำเป็นข้อสอบ
เราสามารถทำข้อ Forms ให้เป็นข้อสอบได้โดย
- คลิกที่
จากนั้นเลือกที่ quize
คลิก Enable Make this a quiz - เลือกคำตอบที่ถูกและให้จำนวนคะแนนโดยเลือกที่ Answer key
ใส่เฉลยคำตอบและคำแนนที่ได้รับ
- คลิกที่
นอกจากนี้ Google Forms สามารถแสดงผลคำตอบได้ในรูปแบบกราฟ เพื่อง่ายต่อการวิเคราะห์ข้อมูล ถือว่าเป็น 1 ในเครื่องมือที่จะช่วยให้งานในออฟฟิศของคุณง่าย สะดวก และรวดเร็ว แถมยังมีประสิทธิภาพสูงอีกด้วย
Google Workspace
Related Blogs
-
-
Google ประกาศยกเลิกบริการ G Suite Legacy Free Edition
ชุดโปรแกรมการทำงานออนไลน์จาก Google เริ่มเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Google Apps จนกลายมาเป็น
G Suite ที่หลายคนคุ้นเคยในเวอร์ชั่นฟรี เช่น Gmail, Google Drive, Google Sheets, Google Docs, Google Slides และ Google Meet ชุดโปรแกรมเหล่านี้ ซึ่งกำลังจะถูกยกเลิกเวอร์ชั่นฟรีนี้ในเร็วๆนี้ หากไม่ทำการ Upgrade หรือ Backup ข้อมูลของท่านก็จะหายไปตลอดกาล ทาง Google แนะนำให้รีบอัพเกรดเป็น Google Workspace ก่อน 1 พ.ค. 2565 เพื่อได้สิทธิ์ใช้งานฟรี จนถึง 1 ก.ค. 2565 -
-
สร้าง Bots ไว้ใช้ใน Google Workspace ง่ายๆ ด้วย Google Chat API
ในยุคโควิด-19 ที่หลายๆ องค์กรปรับกลยุทธ์ให้เข้ากับสถานการณ์ Work From Home, การใช้ tools ต่างๆ เข้ามาอำนวยความสะดวกในการทำงาน และ Google Workspace เอง ก็เป็นดาวเด่นในเรื่อง Work Collaboration Tools และเครื่องมือที่ขาดไม่ได้เลยในการติดต่อสื่อสารก็คือ Messaging App อย่าง Google Chat
-
-
ประกาศ! Google เปลี่ยน Drive File Stream & Backup and Sync ไปที่ Google Drive for Desktop
ปัจจุบัน Google Workspace มีวิธีการ Sync ข้อมูลบน Google Drive สู่ Computer สองวิธีคือ Drive File Stream สำหรับ Business user(Google Workspace user) และ Backup and Sync สำหรับ Consumer users
-
-
Google Classroom : การเรียนการสอนแบบ Community ในยุค New Normal
Google Classroom อำนวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถสร้างห้องเรียน จัดเตรียมเนื้อหาสำหรับการสอนที่สนับสนุนทั้งไฟล์เอกสาร รูปภาพ รวมไปถึงวิดีโอ อีกทั้งยังรักษาความเป็นส่วนตัวของห้องเรียน โดยระบบจะสร้างรหัสและ link การเข้าถึงห้องเรียนให้อัตโนมัติ
-
-
ประกาศการเปลี่ยนแปลงนโยบายพื้นที่การเก็บข้อมูลของ Google Workspace เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม 2022
จากที่ Google มีประกาศเปลี่ยนแปลงนโยบายการคิดพื้นที่ภายใน Google Drive ในปี 2021 เดิมมีการประกาศใช้นโยบายดังกล่าวจริงในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2022 แต่ยังไม่มีการดำเนินการจริงในช่วงที่ผ่านมา ปัจจุบันทาง Google เริ่มใช้นโยบายดังกล่าวแล้วในวันที่ 2 พฤษภาคม 2022 โดยคิดพื้นที่การจัดเก็บ Google Docs, Sheets, Slides, Drawings, Forms และ Jamboard
-
-
4 Features เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานผ่าน Google Meet
ปัจจุบันการทำงานในรูปแบบ Work from Home (WFH) ปฎิเสธไม่ได้เลยว่า การประชุมงานแบบผ่านสื่ออิเล็กโทรนิกส์เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ไปแล้ว และเพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างราบลื่น Google จึงได้เพิ่ม Feature ต่าง ๆ บน Google Meet ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการทำงานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด โดยมี 4 Feature ดังต่อไปนี้