แชร์เคล็ดลับ! พัฒนาแอปอย่างไรให้ตอบโจทย์ธุรกิจ ตรงใจลูกค้า
นอกเหนือจากการเติบโตของ app landscape แล้ว ฝ่ายไอทียังคงเผชิญหน้ากับการเพิ่มเลเยอร์ของความซับซ้อนนั้นๆ เข้าไปอีก เมื่อบุคลากรมีการย้ายทีมหรือลาออกจากบริษัทไป ปัญหาเหล่านี้ทำให้เกิดความท้าทายมากยิ่งขึ้นเพราะจะทำให้ไม่สามารถระบุเจ้าของแอปคนแรกได้ และด้วยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องของตัวธุรกิจและตัวองค์กรเองนั้น จึงทำให้เกิดการสูญหายของข้อมูลที่อยู่ภายใน Application Portfolio ได้โดยง่าย
Tackling Your Application Portfolio Modernization Strategy
การที่จะทำแอปพลิเคชันให้เกิดความทันสมัยได้นั้นจะต้องการบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ มีเวลา และงบประมาณ มันจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้การลงทุนนี้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ทีมไอทีจึงต้องการโครงสร้างของการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (framework) รวมไปถึงเครื่องมืออัตโนมัติต่างๆ และ low-touch analysis เพื่อที่จะได้เพิ่มความรวดเร็วในการทำงานของ digital transformation และการตัดสินใจอันชาญฉลาดเกี่ยวกับการเลือกตัวแอปพลิเคชัน
หนึ่งในความเชื่อของการพัฒนาแอปให้ทันสมัยนั่นก็คือความเชื่อที่ว่า องค์กรจะไม่สามารถเริ่มต้นการพัฒนาแอปได้จนกว่าจะเข้าใจในทุกๆ ส่วนของ application portfolio แต่โชคดีที่ทางทีมของเรานั้นสามารถใช้วิธีการแบบ lean and agile (วิธีการบริหารโปรเจคต่างๆ ให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น) เพื่อเป็นการหยุดยั้งการเกิด analysis paralysis (การวิเคราะห์ข้อมูลที่มากเกินไปจนไม่เกิดประโยชน์) ได้ และยังมีการใช้ประโยชน์จากการตอบสนองแบบวนลูป ทำให้การทำงานรวดเร็วขึ้น คุณภาพของงานดีขึ้น และยังมีผลลัพธ์ที่มั่นคงสม่ำเสมอ
เพื่อที่จะช่วยให้องค์กรต่างๆ ที่เริ่มพัฒนาแอปให้มีความทันสมัยและนำไปใช้ได้นั้น VMware จึงพัฒนาการเข้าถึงแอปที่เรียกว่า VMware App Navigatorแล้วการพัฒนาแอปให้ทันสมัยขึ้นนั้นจะหน้าตาเป็นอย่างไร ? ยกตัวอย่างจากองค์กรไอทีของทางเรา IT app portfolio ของเรามีการเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านขนาดและความซับซ้อนมามากกว่า 20 ปี โดยผ่านการปรับแต่งทั้งจาก third party apps และผ่านการเข้าซื้อกิจการของบริษัทและเทคโนโลยี
VMware กำลังดำเนินการการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล เพื่อช่วยลดความซับซ้อนของ portfolio และเพื่อทำให้มั่นใจว่า เราจะสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว เพื่อที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของ features ใหม่ต่างๆ นี้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นนั้น เราจึงจำเป็นจะต้องดำเนินการโดยรวดเร็วที่สุด โดยเริ่มต้นจากการพัฒนาแอปที่ยังคงทำงานอยู่ในระบบเดิมให้ทันสมัยที่สุดก่อน (legacy apps)
การที่จะเริ่มต้นกระบวนการการพัฒนาแอปให้ทันสมัยนั้น ฝ่ายไอทีจะทำงานร่วมกับ App Navigator team เพื่อพัฒนา strategic framework โดยจะพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ทั้งปัจจัยภาคธุรกิจ(Business value)และปัจจัยด้านเทคโนโลยี key business and technical factors
เป้าหมายของเราคือการคัดเลือกแอปที่เราจะนำมาใช้ให้มาอยู่ใน targeted list ของการพัฒนาแอปก่อน เพื่อที่เราจะได้เริ่มต้นในการพัฒนาแอปได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการจัดลำดับความสำคัญของความพยายามในการปรับปรุงให้ทันสมัยอีกด้วย
VMware’s strategic portfolio modernization framework
การคัดเลือกแอปที่จะนำมาพัฒนามี 4 ขั้นตอน ดังนี้
1. Confirm app inventory: What do we have in our portfolio today?
การยืนยันแอปที่มีอยู่แล้ว: ตอนนี้เรามีแอปอะไรบ้างใน portfolio
ในการที่จะทำการประเมิณว่าแอปไหนบ้างที่ควรจะอยู่ในสโคปของการทำงานและเป็นตัวเลือกที่จะนำมาเข้าสู่การพัฒนาแอปได้นั้น ทางทีมไอทีของเราจะต้องทำการอัปเดท app inventory และสร้างแหล่งข้อมูลจริงเพียงแห่งเดียว (SSOT) รวมไปถึงการคัดเลือกอย่างกว้างขวางใน app inventory ที่มีขนาดใหญ่ เพื่อระบุ in-scope ของแอป นอกจากนี้ยังเป็นการนำทางไปสู่เจ้าของแอปที่แท้จริง การกำหนดการจัดวาง และค้นหาสถานที่กักเก็บข้อมูลของโค้ดอีกด้วย
วิธีต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นนี้เป็นกระบวนการที่ช่วยให้เราพัฒนาและทำความสะอาดฐานข้อมูลของ app inventory เพื่อที่จะนำมาใช้กับ first-pass filter และกำหนดว่าแอปแบบไหนใน portfolio ที่ควรไปอยู่ในสโคปของการพัฒนาแอปให้ทันสมัย
2. Initiate technical discovery: What’s technically feasible to move?
ทุกวันนี้ทีม software กำลังจัดการกับข้อมูลที่อัดแน่นไปด้วยคุณภาพ (Rich Data) เพื่อตั้งค่าการใช้งานในระบบจัดการแหล่งที่มา และเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะต้องมีการ automated และ low-touch way เพื่อตรวจจับทั้ง legacy frameworks, หนี้ทางเทคนิค (Technical Debt) และ cloud anti-patterns เพื่อเป็นการประเมิณการพัฒนาแอปที่อยู่ใน portfolio อย่างรวดเร็ว ดังนั้น ทีมของเราจึงทำการเพิ่มความสามารถของ automated tools ให้เหมือน Cloud Suitability Analyzer เพื่อที่จะได้วิเคราะห์แหล่งที่มาของโค้ด เพื่อตรวจจับ cloud anti-patterns แบบทั่วไปได้
โดยทางทีมใช้ Application Transformer สำหรับ VMware Tanzu เพื่อค้นหาส่วนประกอบที่ทำงานบน virtual machines (VMs) และการบริการนอกเครือข่ายและส่วนประกอบภายนอกของตัวแอปพลิเคชันเองอีกด้วย โดยเครื่องมือเหล่านี้จะช่วยทำให้เราสามารถเก็บข้อมูลข้าม portfolio เพื่อที่จะทำให้เข้าใจถึง runtime platforms ที่เฉพาะเจาะจง และ technology stacks เพื่อเพิ่มความสำเร็จในการพัฒนาแอปนี้ให้เป็นไปได้มากยิ่งขึ้น
3. Determine business discovery: Why should we move?
ทีมไอทีสำหรับการพัฒนาแอปให้ทันสมัยนั้นมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับ strategic value ความรวดเร็วในการดำเนินงานและการพึ่งพาอาศัยกันของแอป โดยทำแบบสอบถามสำรวจความคิดเห็นของเจ้าของแอป ในการพัฒนาและจัดลำดับความสำคัญของตัวแอป
โดยมีคำถามดังต่อไปนี้
- แอปนี้ เป็นแอปที่ลูกค้ากำลังใช้อยู่หรือเปล่า?
- แอปนี้ ได้กล่าวถึงการยินยอมเข้าถึงและการรักษาความปลอดภัยหรือไม่?
- แอปนี้ มีผลกระทบต่อรายได้หรือไม่?
- แอปนี้ มีข้อตกลงระดับในการให้บริการ (SLA) หรือไม่?
ดังนั้น ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจนี้จะช่วยให้เราสามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ว่า แอปพลิเคชันแบบไหนที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจมากที่สุดทั้งในเรื่องของราคา ความเสี่ยง และมูลค่า
4. Prioritize app ranking per decisioning model: What should we modernize first?
การจัดลำดับความสำคัญของแอป แอปไหนที่ควรได้รับการพัฒนาก่อน
ด้วยผลของการค้นพบทางเทคโนโลยีและธุรกิจต่างๆ ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้วนั้น เราจึงสามารถสร้างการรวมคะแนนของแอปเพื่อที่จะจัดอันดับความสำคัญของแอปได้ ทั้งนี้ การจัดอันดับจะขึ้นอยู่กับเหตุผลทางธุรกิจและระดับของความต้องการที่จะทำให้แอปพัฒนาขึ้น
การจัดอันดับนี้เป็นการจัดลำดับตั้งแต่จากแหล่งข้อมูลจริงเพียงแห่งเดียว (SSOT) ที่จะช่วยทำให้ทางทีมรอดพ้นจาก analysis paralysis (การวิเคราะห์ข้อมูลที่มากเกินไปจนไม่เกิดประโยชน์) ได้ และเริ่มแผนการดำเนินงานต่อไปได้
นอกจากนี้ Portfolios ใดๆ ก็ตามที่มีลักษณะเฉพาะที่เหมือนกันข้ามแอปพลิเคชัน ที่สามารถเปิดเผยการเข้าถึง (uncover insights) เพื่อช่วยในการปฏิบัติงานของเราได้นั้น เราจะรวมกลุ่มแอปพลิเคชันเหล่านี้เข้าไว้ด้วยกัน โดยใช้ลักษณะเฉพาะที่เหมือนกันนี้ เพื่อค้นหา key applications ที่มีความเสี่ยงต่ำและซับซ้อนน้อยลงได้
Reference: https://cio.vmware.com/
สนใจบริการ หรือ ต้องการคำปรึกษาเพิ่มเติม
ได้ที่อีเมล marketing@tangerine.co.th หรือโทร 02-285-5511
ท่านจะได้รับคำตอบจากผู้เชี่ยวชาญมากประสบการณ์
Share on social media
Suppakiat.P
System Presale
All and More
- All
- Apigee
- Application Development
- Business Transformation
- Cisco
- Converged Infrastructure
- Data Analytics
- Dell EMC
- Dell Technologies
- Dialogflow (Chatbot)
- Event
- G Suite
- Google Cloud
- Google Cloud Platform
- Google Maps Platform
- Google Workspace
- Highlight
- Huawei
- Hybrid Cloud & Multi Cloud
- Knowledge
- Networking
- Productivity & Work Transformation
- Security
- Smart Business Analytics & AI
- Storage & Data Protection
- Success Story
- Tenable
- Thales
- VMware
- All
- Apigee
- Application Development
- Business Transformation
- Cisco
- Converged Infrastructure
- Data Analytics
- Dell EMC
- Dell Technologies
- Dialogflow (Chatbot)
- Event
- G Suite
- Google Cloud
- Google Cloud Platform
- Google Maps Platform
- Google Workspace
- Highlight
- Huawei
- Hybrid Cloud & Multi Cloud
- Knowledge
- Networking
- Productivity & Work Transformation
- Security
- Smart Business Analytics & AI
- Storage & Data Protection
- Success Story
- Tenable
- Thales
- VMware
Tech Refresh & Data Migration ลดต้นทุน Tech Operation ผลักดันสู่ความท้าทายใหม่ในอนาคต | Tangerine x SVI
บริษัท แทนเจอรีน จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษาและบริการด้านไอทีครอบคลุมทั้งระบบธุรกิจ ตั้งแต่ Infrastructure, Data Center, Network, Security และ ERP ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งได้รับความไว้วางใจจากบริษัท เอสวีไอ จำกัด (มหาชน) บริษัทระดับโลกด้านการผลิตแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์
เจาะลึกสุดยอดเทคโนโลยีจัดการข้อมูลระดับ Containers ได้ง่ายและรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของแอปพลิเคชันสมัยใหม่ที่นำมาจากมุมมองการจัดการข้อมูล เจาะลึกลงไปในบล็อคการสร้างและขยายวิธีที่ Kasten K10 ผสานรวมกับ VMware Portfolio รวมถึง vSphere, Cloud Native Storage (CNS) และ Tanzu Kubernetes Grid (TKG) เพื่อให้บริการแอปพลิเคชัน สำรองและความคล่องตัว
เสริมความปลอดภัยด้วยการสำรองข้อมูลให้ระบบ Kubernetes
การสำรองข้อมูลสำหรับระบบ Kubernetes ทาง Veeam มีผลิตภัณฑ์ Kasten K10 ที่ออกแบบสำหรับการจัดการข้อมูลของ Kubernetes โดยเฉพาะ และสนับสนุนการทำงานบน Cloud Native หลากหลายแพลตฟอร์ม เช่น VMware Tanzu, Openshift, Amazon EKS, Google GKE เป็นต้น ซึ่ง Kubernetes เองมีความแตกต่างจากระบบ Compute Infrastructure ที่ออกแบบแอปพลิเคชันให้มีขนาดเล็กลงที่ทำงานแบบ Container ช่วยให้ระบบมีความยืดหยุ่น สามารถเพิ่ม หรือลด หรือปรับปรุง องค์ประกอบของแอปพลิเคชันให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา
Access Point 4 รุ่นใหม่ ตอบโจทย์ ตรงใจผู้ใช้งานมากกว่าเดิม
Huawei ได้เปิดตัว Access point รุ่นใหม่
สรุปเนื้อหาสำคัญจากงานสัมมนาออนไลน์ “How to Summarize & Present Data in Google Sheets”
จากงานสัมมนาออนไลน์ในหัวข้อ “How to Summarize & Present Data in Google Sheets” ขอสรุปความสำคัญให้ทุก ๆ ท่าน และสำหรับท่านที่พลาดโอกาสอีกครั้ง โดยภายในงานได้นำเสนอเกี่ยวกับการนำข้อมูลที่มีอยู่มานำเสนอให้เข้าใจง่าย และสามารถนำข้อมูลนั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่ง ที่จะสามารถช่วยผลักดันให้ธุรกิจดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ